Category Archives: ห้องพุทธศิลป์ มจร.วิทยาเขตแพร่

แผ่นยันต์ talisman or fabric

เป็นโลหะ ทองเหลือง ทองแดง โลหะ ใช้บันทึกอักขระ คาถา บรรจุในพระพุทธรูป เจดีย์ หรือเสาร์หลัก เมือง ฯลฯ

ไส้เทียนบูชาพระ (Candlewick)

กระดาษสาลง อักขระสําหรับพันกับด้ายไส้เทียน สําหรับจุด บูชาพระธาตุ หรือเสริมสิริมงคลแก่ผู้บูชา ในพิธี สืบชะตา หรือสะเดาะเคราะห์ เป็นต้น

เครื่องสูงบูชาพระเจ้าห้าพระองค์ (The Highest Worshiping)

ทําด้วยวัสดุไม้ สัก ลงรักปิดทอง สัญลักษณ์พระพุทธเจ้าห้า พระองค์ คือ พระกกุสันธะ รูปไก่ พระโกนาค มะ รูปนาค พระกัสสปะ รูปเต่า พระโคตรมะ รูปโค และพระอริยเมตไตร รูปค้อน ทุบผ้า เป็น

ภาพประดิษฐ์ “มนตราแห่งเลขยันต์” Artificial image “Montra of the number”

ภาพวาดและ ประดิษฐ์ด้วยวัสดุที่หลากหลาย ชื่อผลงานมนตราแห่ง เลขยันต์ผลงานของพระเดชฤทธิ์ อรรถวีโร นํามามอบ ไว้ให้กับ มจร.วข.แพร่ เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๒ ในภาพเล่าเรื่องอักขระคาถาอาคม และรูปพระปิดตา ขอบเส้นชันปั้นลวดลาย นูนต่ำและพระยอดขุนพล ขุนแผนเนื้อดินเผา

ภาพประดิษฐ์ “ตุงสื่อชีวิตและจิตวิญญาณ” (life and spiritual in Tung)

ภาพประดิษฐ์ผลงานของ พระวรญาณ วงค์อ่วน นํามามอบให้ มจร.วข.แพร่ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๒ เล่าถึงสิ่งต่างๆที่ใช้ในการบูชาพระ รัตนตรัย ในเทศกาลและพิธีกรรมต่างๆ ลักษณะของตุงที่ปลิว ไสวคล้ายสื่อถึงวิถีชีวิตของมวลมนุษย์ที่ต้องพบกับเหตุการณ์ ต่างๆ ตลอดเวลาจนถึงสิ้นชีวิต การแสดงรูปภาพตุงขาว ๓ หางนําศพไปประกอบพิธีฌาปนกิจ เป็นต้น

ภาพประดิษฐ์ “พระกาฬ”

ภาพพระการสื่อถึง เรื่องกาลเวลา กลืนกิน สัพพสัตว์ ไม่ว่าดีหรือร้าย จน หรือรวย โง่หรือฉลาด จะป้องกันและพระกาฬกลืน กินชีวิตไม่ได้ ต้องล่วงไปตามกาลเวลาทุกชีวิต พระ เดชฤทธิ์ อรรถวีโร ครูช่างสิบหมู่ โรงเรียนบวร วิทยาลัยวัดร่องฟองมอบให้มจร.วข.แพร่ เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ตุง ภาพประดิษฐ์ “ตุงวิถีวัฒนธรรมล้านนา” (Lanna cultural in Tung)

ภาพสื่อผสม ผลงานของ พระวรญาณ สิริญาณร์สี นํามามอบ ให้ มจร.วข.แพร่ เล่าถึงตุงต่างๆที่ใช้ในการบูชา พระรัตนตรัยในประเพณี เทศกาลต่างๆ เช่น ตุง ๓ หาง นําไปประกอบพิธีฌาปนกิจศพ เป็นต้น

ภาพประดิษฐ์ “ตุงผ้าทอสายใยผูกพัน” Drawing Image – woven tung

ที่มาและความสําคัญ : ผลงานของ พระวรญาณ สิริญาณร์สี วัสดุและเทคนิคการ ประดิษฐ์ภาพที่หลากหลายและลงตัว สร้างเรื่อง ตรงที่ใช้เป็นเครื่องไม้แขวนธงของล้านนา

ภาพวาดสีน้ํามัน “ท่ามกลางความสงบในอนธกาล” (Painting)

ผลงานของพระเดช ฤทธิ์ อรรถวีโร เพื่อแสดงถึงความสงบนิ่ง ผ่อน สัญลักษณ์พระปิดตา ที่อยู่ท่ามกลางแห่งความวุ่นวาย ที่ต้องอาศัยความสํารวมตาหูจมูกปากเป็นต้นเพื่อจะ ได้ผ่านพ้นสิ่งต่าง ๆไปได้

ภาพประดิษฐ์สื่อผสม “สายลมแห่งโลกธรรม” (Painting)

ที่มาและความสําคัญ : ผลงานของพระวร ญาณ สิริญาณร์สี แสดงถึงเวลาความบกริ้วและ เคลื่อนไหวของตุงสื่อ แผนการดําเนินชีวิตของมนุษย์ ในสถานการณ์ต่าง ๆทั้งที่ปรารถนาและไม่ ปรารถนา ซึ่งเป็นธรรมดาคู่โลก ประกอบมีสุขมีทุกข์เป็นต้น